มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เดินหน้าสนับสนุนงานวิจัย โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปาก เจลลี่โภชนา สำหรับผู้ป่วยที่ประสบปัญหาเรื่องการเคี้ยวและการกลืน และโครงการวิจัยและพัฒนาน้ำลายเทียมชนิดเจล ผลิตภัณฑ์ เจลลี่ (เดิมชื่อ วุ้นชุ่มปาก) โดยจัดตั้งโรงงานผลิตในระดับอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานระดับสากล เพื่อช่วยผู้ป่วยที่มีปัญหาปากแห้ง น้ำลายน้อย เพิ่มทางเลือกให้ผู้ป่วยมะเร็งในช่องปากและผู้สูงวัย กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น นายวรวุฒิ กุลแก้ว เลขาธิการมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวว่า มูลนิธิฯ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
สุขภาพ-คุณภาพชีวิต
โค้งสุดท้าย “Hackathon U League for All 2022” ชมฟรีเฟ้นหาผู้ชนะ 28 ส.ค.นี้
โค้งสุดท้ายการแข่งขัน Hackathon U League for All 2022 เฟ้นหาผู้ชนะจาก 12 สุดยอดไอเดียนวัตกรรมดิจิทัล เปิดให้ชมการแข่งขันฟรี 28 ส.ค.นี้ ที่อาคาร Knowledge Exchange Center สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ร่วมกับ ศูนย์การสร้างผู้ประกอบการที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (IDE Center) โดยการสนับสนุนของกองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง
นวัตกรรมโครงการวิจัยและพัฒนาน้ำลายเทียมชนิดเจล ช่วยแก้ปัญหาปากแห้ง น้ำลายน้อย
มูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภ์ แนะนำผลงานโครงการวิจัยและพัฒนาน้ำลายเทียมชนิดเจล ผลิตภัณฑ์ เจลลี่ (เดิมชื่อ วุ้นชุ่มปาก) สำหรับผู้ป่วยมะเร็งช่องปากและผู้สูงวัย ที่ประสบปัญหาปากแห้งน้ำลายน้อย พร้อมทำความร่วมมือกับหลายหน่วยงาน นำผลิตภัณฑ์แจกจ่ายให้ผู้ป่วย ส่วนโรงพยาบาลที่สนใจรับเป็นจุดแจกเพื่อบริการประชาชน สามารถติดต่อได้เช่นกัน ผศ.ทพญ.ดร.อรุณวรรณ หลำอุบล ภาควิชาศัลยศาสตร์และเวชศาสตร์ช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หนึ่งในทีมนักวิจัยโครงการวิจัยและพัฒนาน้ำลายเทียมชนิดเจล กล่าวว่า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ดังกล่าว เป็นหนึ่งในโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 เนื่องจากพระองค์ทรงทราบว่าน้ำลายเทียม หรือสารให้ความชุ่มชื้นในช่องปากสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาปากแห้งน้ำลายน้อย
วช.หนุนวิจัยผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางการเกษตร
วช.หนุนงานวิจัยผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์อย่างครบวงจร พืชผลทางการเกษตรของประเทศไทยนับว่าเป็นแหล่งสินค้าส่งออกและบริโภคภายในประเทศที่สำคัญ มีความพยายามผลักดันนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก หวังสร้างรายได้เข้าประเทศและเสริมศักยภาพให้กับเกษตรกร ให้มีทักษะในการพัฒนาคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐาน ปัจจัยสำคัญที่เข้าไปเกี่ยวข้องนั่นก็คือต้นทุนของปุ๋ยที่นำใช้ในการเกษตร และปัญหาวัตถุดิบที่เหลือใช้จากการเกษตรกลับกลายมาเป็นขยะกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้ทำให้ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้ร่วมกันในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงจากวัตถุดิบที่เหลือใช้จากภาคการเกษตรมาพัฒนาโดยวิธีทางเทคโนโลยีชีวภาพ โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ( วช. ) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งนอกจากจะช่วยในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรแล้ว ยังสามารถใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบเหลือใช้จากการเกษตร ลดปัญหามลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า
วช.หนุนทีมวิจัยจุฬาฯถ่ายทอดองค์ความรู้ใช้เห็ดเผาะฟื้นฟูป่าฯ หวังช่วยลดปัญหา PM 2.5
วช.หนุนทีมนักวิจัยจุฬาฯ ถ่ายทอดองค์ความรู้การใช้เห็ดเผาะเพื่อฟื้นฟูป่าฯ หวังช่วยลดปัญหา PM 2.5 จากการเผาป่า พร้อมสร้างแปลงต้นแบบในการใช้ประโยชน์จากป่าทั้งทางด้านอาหารและรายได้อย่างยั่งยืน ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้สนับสนุนทุนวิจัยในโปรแกรมโจทย์ท้าท้ายด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและการเกษตร ให้กับ “ โครงการบูรณาการของการใช้เห็ดเผาะเพื่อฟื้นฟูป่าและลด PM 2.5 ที่เกิดจากการเผาป่าในบริเวณพื้นที่รอยต่ออุทยานแห่งชาติแม่ปิง
“Walk for Fun มหัศจรรย์เครื่องช่วยเดิน” รางวัลนวัตกรรม ระดับดี
วช. ห่วงใยแม่และลูกน้อย มอบรางวัลนวัตกรรม “Walk for Fun มหัศจรรย์เครื่องช่วยเดิน” ระดับดี แก่ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ ที่ผ่านมา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มอบรางวัลให้แก่ นางสาวธัญวรัตน์ นาคแก้ว และคณะ แห่ง
เทคโนโลยีสุดล้ำนวัตกรรมหุ่นยนต์ฟื้นฟูสมรรถนะผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
เทคโนโลยีสุดล้ำนวัตกรรมหุ่นยนต์ฟื้นฟูสมรรถนะผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ฝีมือจากทีมวิจัยจุฬาฯ หวังคืนคุณภาพชีวิตให้กับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาต โชว์ผลงานในมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 ที่ผ่านมา ด้วยสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมถึงพฤติกรรมการบริโภค เป็นปัจจัยสำคัญที่เสี่ยงให้เกิดโรคหลอดเลือดในสมอง ผู้ป่วยโรคดังกล่าวจำนวนมากเมื่อรักษาโรคแล้วมักจะมีอาการอัมพฤกษ์อัมพาต แต่ละปีมีผู้ป่วยต้องการการฟื้นฟูมีแนวโน้มสูงขึ้น การฟื้นฟูสมรรถนะผู้ป่วยที่มีอาการอัมพฤกษ์อัมพาตก็ขึ้นอยู่กับอาการแต่ละคน ซึ่งหากผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูในระยะเริ่มต้นจะทำให้การฟื้นฟูมีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นแรงจูงใจที่สำคัญทำให้เกิดนวัตกรรมหุ่นยนต์ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จากฝีมือการสร้างสรรค์เทคโนโลยีหุ่นยนต์ ของคณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นหนึ่งในนวัตกรรมทางการแพทย์ที่นำมาแสดงในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 ระหว่างวันที่ 1-5
“ซีพีเอฟ” โชว์นวัตกรรมตรวจเชื้อโรคในอาหารพกพา –โปรตีนจากพืชคุมน้ำหนัก งานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565
“ซีพีเอฟ” โชว์นวัตกรรมตรวจเชื้อโรคในอาหารพกพา –โปรตีนจากพืชคุมน้ำหนัก งานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)จัดงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022)” ครั้งที่ 17 ระหว่างวันที่ 1-5 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ณ
วช. ร่วมกับ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ผลักดันงานวิจัย สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน
วช. ร่วมกับ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ผลักดันงานวิจัย สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน วันที่ 8 สิงหาคม 2565 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) จัดอบรมระยะสั้น หลักสูตร “ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ”ภายใต้โครงการการพัฒนาองค์ความรู้และเครือข่ายบุคลากรวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมี ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
นวัตกรรม! เครื่องวัดระดับน้ำตาลพกพาไม่ต้องเจาะเลือด ม.รังสิต รางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ระดับดีมาก
สุดยอดนวัตกรรม! เครื่องวัดระดับน้ำตาลชนิดพกพาแบบไม่ต้องเจาะเลือด จาก ม.รังสิต คว้ารางวัลการประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ระดับดีมาก ในมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ ปี 65 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มอบรางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2565 ระดับปริญญาตรี ระดับดีมาก และรางวัลการเขียนข้อเสนอโครงการนวัตกรรม ระดับปริญญาตรี ระดับดีเด่น ประจำปี