กสว. เผยงบวิจัยโควิดคืบหน้า สร้างความมั่นคงด้านวัคซีนให้ประเทศไทย

(21 พฤษภาคม 2564) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดงานเสวนาออนไลน์หัวข้อ “Covid19 กับความกลัว: กลัวโควิด-กลัววัคซีน-กลัวอด” โดยมี นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ , ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ดร.นณริฏ พิศลยบุตร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

Read more

วช.หนุน GISTDA พัฒนา COVID-19 iMap ให้สามารถคาดการณ์ผลที่จะเกิดในอนาคต

  “ข้อมูล”เป็นพื้นฐานสำคัญของกระบวนการวิเคราะห์เพื่อให้การตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด  แต่ภายใต้สถานการณ์วิกฤตที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ที่กระจายไปทุกจังหวัดทั่วประเทศ  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจึงมีอยู่เป็นจำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รูปแบบการนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และทันต่อสถานการณ์   จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้การตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผล  นายตติยะ  ชื่นตระกูล รองผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ จิสด้า (GISTDA) เปิดเผยว่า เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ในรอบแรก GISTDA ได้พัฒนาระบบข้อมูลที่เรียกว่า COVID-19 iMap

Read more

เผยตัวเลขประสิทธิภาพการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐต่ำลง สกสว. พร้อมภาคี เร่งเครื่องเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยไทย

ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) เป็นประธานเปิดการประชุม คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) ครั้งที่ 5/2564 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ และ ห้องประชุมสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เพื่อพิจารณาวาระสำคัญต่างๆในการพัฒนาระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ให้เป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ โดยหนึ่งในวาระสำคัญของการประชุมครั้งนี้ คือ รายงานประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐ ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ

Read more

ดำดิ่งพิสูจน์วัตถุอวกาศใต้ทะเล

วัตถุอวกาศเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น อย่างสถานีอวกาศ ดาวเทียม หรือจรวด ซึ่งเมื่อหมดอายุการใช้งาน สิ่งเหล่านี้ก็จะกลายเป็นขยะอวกาศ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อโลก และดาวเทียม หรือสถานีอวกาศที่ยังมีการใช้งานอยู่บนอวกาศ การตกของวัตถุจากอวกาศมายังพื้นผิวโลกนั้นมีมาอย่างต่อเนื่องและบ่อยครั้ง ตั้งแต่เริ่มมีการส่งดาวเทียมดวงแรกของโลกอย่าง “สปุตนิก”ของสหภาพโซเวียตในขณะนั้น โดยทั่วไปแล้วเศษชิ้นส่วนจากวัตถุอวกาศเมื่อตกมายังโลก สามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ ไม่ว่าจะเป็นการระเบิดและแรงกระแทก เกิดอัคคีภัย ความเสี่ยงต่อสารเคมี หรือวัตถุอันตราย รวมถึงกัมมันตรังสี เมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA

Read more