สกสว.เตรียมแผนวิจัยปกป้องความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

วันนี้ (24 พฤษภาคม 2564) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดเวทีเสวนา TSRI Talk ในหัวข้อ “บทบาทการวิจัยและนวัตกรรมในการปกป้องความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ : ช่องว่างและการเติมเต็ม ” โดยเชิญนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญร่วมวิเคราะห์สถานการณ์องค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบัน เตรียมวางแผนบริหารจัดการทุนวิจัย เพื่อให้เกิดความมั่นคง และสมดุลด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย โอกาสนี้ รศ.ดร.โสภารัตน์ จารุสมบัติ

Read more

วช. สนับสนุน มรภ.อุตรดิตถ์ คิดค้นเครื่องผ่าไม้ไผ่-เครื่องจักตอกแบบเลาะข้อ ทุ่นแรง-ผลิตเข่งใส่พืชผลการเกษตร

นักวิจัย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ผลิตเครื่องผ่าไม้ไผ่และเครื่องจักตอกแบบเลาะข้อ ทุ่นแรงและเวลา สร้างรายได้เพิ่ม แก่กลุ่มผู้ผลิตเครื่องจักสานเข่งไม้ไผ่ จ.อุตรดิตถ์ โดยการสนับสนุนของ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) คณะผู้วิจัย นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ นะเที่ยง แห่งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้ออกแบบและสร้างเครื่องผ่าไม้ไผ่และเครื่องจักตอบแบบเลาะข้อ ทุ่นแรงและเวลา เพื่อลดระยะเวลาการจัดเตรียมวัตถุดิบเส้นตอกของชาวบ้านสำหรับสานเข่งไม้ไผ่

Read more

กสว. เผยงบวิจัยโควิดคืบหน้า สร้างความมั่นคงด้านวัคซีนให้ประเทศไทย

(21 พฤษภาคม 2564) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดงานเสวนาออนไลน์หัวข้อ “Covid19 กับความกลัว: กลัวโควิด-กลัววัคซีน-กลัวอด” โดยมี นพ.สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ , ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ดร.นณริฏ พิศลยบุตร สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

Read more

วช.หนุน GISTDA พัฒนา COVID-19 iMap ให้สามารถคาดการณ์ผลที่จะเกิดในอนาคต

  “ข้อมูล”เป็นพื้นฐานสำคัญของกระบวนการวิเคราะห์เพื่อให้การตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด  แต่ภายใต้สถานการณ์วิกฤตที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ที่กระจายไปทุกจังหวัดทั่วประเทศ  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจึงมีอยู่เป็นจำนวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รูปแบบการนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน ง่ายต่อการทำความเข้าใจ และทันต่อสถานการณ์   จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ทำให้การตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผล  นายตติยะ  ชื่นตระกูล รองผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ จิสด้า (GISTDA) เปิดเผยว่า เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ในรอบแรก GISTDA ได้พัฒนาระบบข้อมูลที่เรียกว่า COVID-19 iMap

Read more

เผยตัวเลขประสิทธิภาพการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐต่ำลง สกสว. พร้อมภาคี เร่งเครื่องเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยไทย

ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ ประธานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) เป็นประธานเปิดการประชุม คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) ครั้งที่ 5/2564 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ และ ห้องประชุมสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เพื่อพิจารณาวาระสำคัญต่างๆในการพัฒนาระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ให้เป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ โดยหนึ่งในวาระสำคัญของการประชุมครั้งนี้ คือ รายงานประสิทธิภาพการดำเนินงานด้านการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐ ที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ

Read more

ดำดิ่งพิสูจน์วัตถุอวกาศใต้ทะเล

วัตถุอวกาศเกิดจากมนุษย์สร้างขึ้น อย่างสถานีอวกาศ ดาวเทียม หรือจรวด ซึ่งเมื่อหมดอายุการใช้งาน สิ่งเหล่านี้ก็จะกลายเป็นขยะอวกาศ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อโลก และดาวเทียม หรือสถานีอวกาศที่ยังมีการใช้งานอยู่บนอวกาศ การตกของวัตถุจากอวกาศมายังพื้นผิวโลกนั้นมีมาอย่างต่อเนื่องและบ่อยครั้ง ตั้งแต่เริ่มมีการส่งดาวเทียมดวงแรกของโลกอย่าง “สปุตนิก”ของสหภาพโซเวียตในขณะนั้น โดยทั่วไปแล้วเศษชิ้นส่วนจากวัตถุอวกาศเมื่อตกมายังโลก สามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ ไม่ว่าจะเป็นการระเบิดและแรงกระแทก เกิดอัคคีภัย ความเสี่ยงต่อสารเคมี หรือวัตถุอันตราย รวมถึงกัมมันตรังสี เมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA

Read more

วิจัยพบมูลค่าอุตสาหกรรมเกษตร-อาหารไทยหดตัว 6% จากวิกฤตโควิด-19

ผลวิจัยล่าสุดจากออกซ์ฟอร์ด อีโคโนมิกส์ (Oxford Economics) ชี้ ภาคอุตสาหกรรมเกษตร-อาหารไทยหดตัวร้อยละ 6 ในปีที่ผ่านมา หรือคิดเป็นมูลค่า 2.28 แสนล้านบาท ส่งผลให้การจ้างงานลดลงร้อยละ 8 หรือ 730,000 คน โดยมีสาเหตุหลักจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 องค์กรอุตสาหกรรมอาหารแห่งเอเชีย หรือ Food Industry Asia (FIA) ร่วมกับ Oxford Economics

Read more

LINE รุกหนัก ดันครีเอเตอร์ไทยสู่ตลาดสากล ผ่านแคมเปญใหญ่ระดับโลก “มาสร้างสติกเกอร์ BROWN & FRIENDS กัน!” โอกาสฉลองครบรอบ 10 ปี

LINE รุกหนัก ดันครีเอเตอร์ไทยสู่ตลาดสากล ผ่านแคมเปญใหญ่ระดับโลก “มาสร้างสติกเกอร์ BROWN & FRIENDS กัน!” ในโอกาสฉลองครบรอบ 10 ปี ครั้งแรกของครีเอเตอร์ไทยกับโอกาสในการร่วมสร้างสรรค์สติกเกอร์ ‘BROWN & FRIENDS’ คอลเลคชันพิเศษในสไตล์เฉพาะตัว สู่สายตาชาวโลก ในเดือนมิถุนายนนี้ LINE คอร์ปอเรชัน ฉลองความสำเร็จครบรอบ 10 ปี เดินหน้าผลักดันครีเอเตอร์ไทย เปิดเวทีแสดงผลงานสร้างสรรค์สู่ระดับสากลผ่านแคมเปญสร้างสรรค์ครั้งยิ่งใหญ่ “มาสร้างสติกเกอร์ BROWN

Read more

ปกรณ์ย้ำ…ถึงเวลาแล้วที่ประเทศไทยจะต้องมี “กฎหมายอวกาศ”

หลังจาก ศรชล.ภาค ๓ ได้ประสานความร่วมมือกับ GISTDA และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่งผู้เชี่ยวชาญร่วมวางแผนการเก็บกู้ถังเชื้อเพลิงของจรวดที่ถูกนำส่งขึ้นสู่อวกาศ โดยค้นพบที่บริเวณเกาะแอล จังหวัดภูเก็ต จนภารกิจสำเร็จลุล่วงไปแล้วเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคมที่ผ่านมา นั้น เรื่องดังกล่าว ถือเป็นเรื่องสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับ “กฎหมายอวกาศ” ถึงแม้วัตถุอวกาศที่ตกมาสู่พื้นโลกจะไม่ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน แต่กฎหมายอวกาศหรือข้อตกลงทางด้านอวกาศได้มีการกล่าวถึงรายละเอียดของการชดใช้ความเสียหายที่เกิดจากจรวด หรือดาวเทียม หรือสถานีอวกาศ ซึ่งประเทศที่เป็นเจ้าของวัตถุนั้น จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวที่เกิดขึ้น ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์

Read more

รมว.อว.มอบห้องแยกโรค ความดันลบสำหรับโรงพยาบาลสนาม ช่วยรามาช่วยมือโควิด-19

ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมส่งมอบห้องแยกโรคความดันลบ สำหรับโรงพยาบาลสนาม ให้แก่ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อช่วยรับมือสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) เป็นผู้ผลิต และในวันเดียวกันนี้ยังส่งมอบให้แก่คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ    ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นประธานส่งมอบห้องแยกโรคความดันลบ

Read more